โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล (Graphic Presentation Program)
โปรแกรมการนำเสนอข้อมูลคือ โปรแกรมสำหรับจัดเตรียมเอกสารต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการนำเสนอข้อมูล เช่น แผ่นใส สไลด์ โปสเตอร์ เอกสารสำหรับผู้ฟัง หรือเอกสารสรุป สำหรับผู้พูด หากจะต้องเตรียมเอกสารเหล่านี้ด้วยมือทั้งหมด ก็จะต้องเตรียมงานในปริมาณที่ค่อนข้างมาก และต้องทำงานซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองเวลา ดังนั้น การนำเสนอข้อมูลในปัจจุบันจึงนิยมใช้โปรแกรมการนำเสนอข้อมูลแทนซึ่งโปรแกรมการนำเสนอข้อมูลไม่ค่อยมีการปรับเปลี่ยนมากนัก มีเพียงการเพิ่มเติมส่วนการช่วยเหลือแนะนำ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้สะดวกรวดเร็วขึ้น เพิ่มความสามารถในการนำเสนอข้อมูลแบบสื่อประสม ที่มีทั้งข้อความ (Text) กราฟิก (Graphic) เสียง (Sound) วีดิทัศน์ (Video)เพิ่มความสามารถในการสร้างแฟ้มข้อมูลที่เป็นเอกสารเว็บ เพื่อให้ทันสมัยในยุคอินเทอร์เน็ตอีกด้วย นอกจากนี้ ยังสามารถทำงานร่วมกับโปรแกรมต่างๆ ได้ เช่น ความสามารถในการดึงข้อมูลจากโปรแกรมแผ่นตารางทำการ และ โปรแกรมประมวลผลคำเข้ามาใช้งานร่วมกัน เป็นต้น
- คุณสมบัติทั่วไปของโปรแกรมการนำเสนอข้อมูล คือ การเริ่มต้นใช้งานได้ง่าย มีวัตถุดิบให้เลือกใช้งานมากมาย ความสามารถในการจัดการกับสไลด์ได้ง่าย และความสามารถในการควบคุมการแสดงผลของข้อมูลได้ดี
การเริ่มต้นใช้งานได้ง่าย หมายถึง โปรแกรมได้จัดเตรียมรูปแบบสไลด์ที่จะนำเสนอข้อมูลให้ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ได้ตามความพอใจ และตามความเหมาะสมของงาน โดยไม่จำเป็นต้องสร้างรูปแบบขึ้นมาเอง โปรแกรมบางโปรแกรมได้พัฒนาให้มีความสะดวกสำหรับผู้ใช้มือใหม่ ด้วยการเรียกใช้ส่วนช่วยเหลือแนะนำการสร้างงาน นำเสนอข้อมูลทีละขั้นตอนจนเสร็จ เพื่อให้ได้งานที่ถูกใจ นอกจากนี้ ผู้ใช้ยังไม่จำเป็นต้องมีฝีมือทางศิลปะ และมีความเชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์เป็นพิเศษ ก็สามารถสร้างงานสำหรับนำเสนอข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว สวยงาม และสะดุดตา เพราะโปรแกรมการนำเสนอข้อมูลมีวัตถุดิบให้เลือกใช้มากมาย นอกจากข้อความ (Text) แล้วยังมีข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ เช่น แผนผัง (Chart) กราฟิก (Graphic) เสียง (Sound) วีดิทัศน์ (Video) เป็นต้น
โปรแกรมรุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบันจึงได้เพิ่มแฟ้มข้อมูลของวัตถุดิบเหล่านี้ไว้มากมายให้เลือกใช้ได้ตามความพอใจ ดังนั้น งานนำเสนอข้อมูลแบบใหม่จึงเป็นการแสดงข้อมูลที่ผสมผสานข้อมูลรูปแบบต่างๆ เข้าด้วยกัน เรียกว่า การนำเสนอข้อมูลแบบสื่อประสม (Multimedia) ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เหล่านั้นจึงจัดเป็นวัตถุดิบที่สำคัญสำหรับการสร้างงานนำเสนอข้อมูลให้น่าสนใจและเข้าใจได้ง่ายขึ้น
ความสามารถในการจัดการกับสไลด์ได้ง่ายหมายถึง ความสามารถในการกำหนดรูปแบบหลัก
หรือรายละเอียดอื่นๆ ของสไลด์ไว้เพียงครั้งเดียวเช่นสีของพื้นหลังสไลด์
สีของข้อความ รูปแบบตัวอักษร เป็นต้น จากนั้น
จึงนำรูปแบบหลักนี้ไปใช้กับทุกสไลด์ที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลนั้นให้กับหน้าหลักเพียงหน้าเดียว
ถ้ามีการแก้ไขปรับแต่งในภายหลัง ก็สามารถทำได้ในหน้าหลักเพียงหน้าเดียวเช่นกัน
โดยโปรแกรมจะแก้ไขให้เองอย่างอัตโนมัติในทุกๆ หน้า การสร้างหน้าใหม่
การลบสไลด์บางหน้า หรือการสับเปลี่ยนลำดับ การแสดงผล
สามารถทำได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องสร้างไปเรียงไปทีละหน้าให้ถูกต้องตั้งแต่แรก
ความสามารถในการควบคุมการแสดงผลของข้อมูลได้ดี หมายถึง
ความสามารถในการควบคุมการเปลี่ยนหน้าสไลด์แต่ละหน้า
หรือการแสดงข้อความแต่ละบรรทัดแตกต่างกันตามความเหมาะสม เช่น
ให้จอภาพของสไลด์หน้าที่แสดง เสร็จแล้ว ค่อยๆ
เลื่อนออกไปทางด้านใดด้านหนึ่งแล้วค่อยให้สไลด์หน้าต่อไปมาปรากฏแทน หรือ
ในการกำหนดการแสดงข้อความ อาจกำหนดให้ข้อความค่อยๆ เลื่อนลงมาจากข้างบน
หรือจากข้อความที่เลือนลาง แล้วค่อยๆ ปรากฏชัดขึ้นเรื่อยๆ เป็นต้น
ความสามารถนี้ช่วยให้การนำเสนอข้อมูลมีการเคลื่อนไหว จึงทำให้ไม่น่าเบื่อ
และน่าสนใจยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในการสร้างงานนำเสนอข้อมูลที่ผ่านมา
บางโปรแกรมสามารถสร้างแฟ้มข้อมูล ๑ แฟ้มต่อสไลด์ ๑ หน้า ดังนั้น
การแสดงผลข้อมูลเพียงรูปแบบเดียวก็เพียงพอแล้ว
แต่สำหรับโปรแกรมที่สามารถสร้างสไลด์ได้หลายหน้า
โดยบันทึกไว้ในแฟ้มข้อมูลเพียงแฟ้มเดียว
ก็จำเป็นจะต้องมีวิธีแสดงผลข้อมูลในหลายรูปแบบ
การแสดงผลข้อมูลแต่ละรูปแบบนี้เรียกว่า
มุมมองเพื่อให้ผู้ใช้สามารถทำงานกับสไลด์ได้สะดวกยิ่งขึ้น มุมมองต่างๆ
สำหรับการแสดงผลข้อมูล เช่นมุมมองแบบเรียงลำดับหน้าสไลด์ คือ
จะแสดงให้เห็นสไลด์ทุกๆ หน้าพร้อมกัน และเห็นลำดับการจัดเรียงหน้าสไลด์ได้ทันที
ดังนั้น ถ้าต้องการสับเปลี่ยนลำดับการแสดงผลข้อมูลใหม่
ก็สามารถทำได้ทันทีในขณะที่อยู่ในมุมมองนี้
โดยเลือกสไลด์หน้าที่ต้องการเปลี่ยนตำแหน่ง
แล้วดึงไปวางในตำแหน่งใหม่ตามความต้องการ
หรือมุมมองแบบที่สามารถเขียนคำอธิบายสไลด์กำกับไว้ใต้สไลด์แต่ละหน้า
เพื่อใช้เป็นเอกสารสำหรับผู้พูด
หรือมุมมองแบบแสดงผลเต็มหน้าจอสำหรับสไลด์ทีละหน้าตามลำดับก่อนหลังที่ได้เรียงไว้
มุมมองแบบนี้จะเป็นมุมมองที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลจริง ๆ ดังนั้น
ผู้ใช้สามารถตรวจสอบการแสดงผลข้อมูลจริงได้จากมุมมองนี้
ขั้นตอนการทำสไลด์ประกอบการบรรยายโดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์ ซึ่งเป็นโปรแกรมการนำเสนอข้อมูลประเภทหนึ่ง
คุณสมบัติทั่วไปของโปรแกรมการนำเสนอข้อมูลคือ การเริ่มต้นใช้งานได้ง่าย มีวัตถุดิบให้เลือกใช้มากมาย ความสามารถในการจัดการกับสไลด์ได้ง่าย และความสามารถในการควบคุมการแสดงผลของข้อมูลได้ดี
การเริ่มต้นใช้งานได้ง่าย หมายถึง โปรแกรมได้จัดเตรียมรูปแบบสไลด์ ที่จะนำเสนอข้อมูล ให้ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ได้ตามความพอใจ และตามความเหมาะสมของงาน โดยไม่จำเป็นต้องสร้างรูปแบบขึ้นมาเอง โปรแกรมบางโปรแกรมได้พัฒนาให้มีความสะดวกสำหรับผู้ใช้มือใหม่ ด้วยการเรียกใช้ส่วนช่วยเหลือแนะนำการสร้างงานนำเสนอข้อมูลที่ละขั้นตอนจนเสร็จ เพื่อให้ได้งานที่ถูกใจ นอกจากนี้ ผู้ใช้ยังไม่จำเป็นต้องมีฝีมือทางศิลปะ และมีความเชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์เป็นพิเศษ ก็สามารถสร้างงานสำหรับนำเสนอข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว สวยงาม และสะดุดตา เพราะโปรแกรมการนำเสนอข้อมูลมีวัตถุดิบให้เลือกใช้มากมาย นอกจากข้อความ (Text) แล้วยังมีข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ เช่น แผนผัง ( Chart) กราฟิก (Graphic) เสียง (Sound) วีดิทัศน์ (Video) เป็นต้น โปรแกรมรุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบันจึงได้เพิ่มแฟ้มข้อมูลของวัตถุดิบเหล่านี้ไว้มากมายให้เลือกใช้ได้ตามความพอใจ ดังนั้น งานนำเสนอข้อมูลแบบใหม่จึงเป็นการแสดงข้อมูลที่ผสมผสานข้อมูลรูปแบบต่างๆ เข้าด้วยกัน เรียกว่า การนำเสนอข้อมูลแบบสื่อประสม (Multimedia) ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เหล่านั้นจึงจัดเป็นวัตถุดิบที่สำคัญสำหรับการสร้างงานนำเสนอข้อมูลให้น่าสนใจและเข้าใจได้ง่ายขึ้น
ความสามารถในการจัดการกับสไลด์ได้ง่าย หมายถึง ความสามารถในการกำหนดรูปแบบหลัก หรือรายละเอียดอื่นๆ ของสไลด์ไว้เพียงครั้งเดียว เช่น สีของพื้นหลังสไลด์ สีของข้อความ รูปแบบตัวอักษร เป็นต้น จากนั้น จึงนำรูปแบบหลักนี้ไปใช้กับทุกสไลด์ที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลนั้นให้กับหน้าหลักเพียงหน้าเดียว ถ้ามีการแก้ไขปรับแต่งในภายหลัง ก็สามารถทำได้ในหน้าหลักเพียงหน้าเดียวเช่นกัน โดยโปรแกรมจะแก้ไขให้เองอย่างอัตโนมัติในทุก ๆ หน้า การสร้างหน้าใหม่ การลบสไลด์บางหน้า หรือการสับเปลี่ยนลำดับการแสดงผล สามารถทำได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยไม่จำเป็นต้องสร้างไปเรียงไปทีละหน้าให้ถูกต้องตั้งแต่แรก
ความสามารถในการควบคุมการแสดงผลของข้อมูลได้ดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุม การเปลี่ยนหน้าสไลด์แต่ละหน้า หรือการแสดงข้อความแต่ละบรรทัดแตกต่างกัน ตามความเหมาะสม เช่น ให้จอภาพของสไลด์หน้าที่แสดงเสร็จแล้ว ค่อยๆ เลื่อนออกไปทางด้านใดด้านหนึ่ง แล้วค่อยให้สไลด์หน้าต่อไปมาปรากฏแทน หรือในการกำหนดการแสดงข้อความ อาจกำหนดให้ข้อความค่อยๆ เลื่อนลงมาจากข้างบน หรือจากข้อความที่เลือนลาง แล้วค่อยๆ ปรากฏชัดขึ้นเรื่อยๆ เป็นต้น ความสามารถนี้ช่วยให้การนำเสนอข้อมูลมีการเคลื่อนไหว จึงทำให้ไม่น่าเบื่อและน่าสนใจยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ ในการสร้างงานนำเสนอข้อมูลที่ผ่านมา บางโปรแกรมสามารถสร้างแฟ้มข้อมูลหนึ่งแฟ้มต่อสไลด์หนึ่งหน้า ดังนั้น การแสดงผลข้อมูลเพียงรูปแบบเดียวก็เพียงพอแล้ว แต่สำหรับโปรแกรมที่สามารถสร้างสไลด์ได้หลายหน้า โดยบันทึกไว้ในแฟ้มข้อมูลเพียงแฟ้มเดียว ก็จำเป็นจะต้องมีวิธีแสดงผลข้อมูลในหลายรูปแบบ การแสดงผลข้อมูลแต่ละรูปแบบนี้เรียกว่า มุมมองเพื่อให้ผู้ใช้สามารถทำงานกับสไลด์ได้สะดวกยิ่งขึ้น

คุณสมบัติทั่วไปของโปรแกรมการนำเสนอข้อมูลคือ การเริ่มต้นใช้งานได้ง่าย มีวัตถุดิบให้เลือกใช้มากมาย ความสามารถในการจัดการกับสไลด์ได้ง่าย และความสามารถในการควบคุมการแสดงผลของข้อมูลได้ดี
การเริ่มต้นใช้งานได้ง่าย หมายถึง โปรแกรมได้จัดเตรียมรูปแบบสไลด์ ที่จะนำเสนอข้อมูล ให้ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ได้ตามความพอใจ และตามความเหมาะสมของงาน โดยไม่จำเป็นต้องสร้างรูปแบบขึ้นมาเอง โปรแกรมบางโปรแกรมได้พัฒนาให้มีความสะดวกสำหรับผู้ใช้มือใหม่ ด้วยการเรียกใช้ส่วนช่วยเหลือแนะนำการสร้างงานนำเสนอข้อมูลที่ละขั้นตอนจนเสร็จ เพื่อให้ได้งานที่ถูกใจ นอกจากนี้ ผู้ใช้ยังไม่จำเป็นต้องมีฝีมือทางศิลปะ และมีความเชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์เป็นพิเศษ ก็สามารถสร้างงานสำหรับนำเสนอข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว สวยงาม และสะดุดตา เพราะโปรแกรมการนำเสนอข้อมูลมีวัตถุดิบให้เลือกใช้มากมาย นอกจากข้อความ (Text) แล้วยังมีข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ เช่น แผนผัง ( Chart) กราฟิก (Graphic) เสียง (Sound) วีดิทัศน์ (Video) เป็นต้น โปรแกรมรุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบันจึงได้เพิ่มแฟ้มข้อมูลของวัตถุดิบเหล่านี้ไว้มากมายให้เลือกใช้ได้ตามความพอใจ ดังนั้น งานนำเสนอข้อมูลแบบใหม่จึงเป็นการแสดงข้อมูลที่ผสมผสานข้อมูลรูปแบบต่างๆ เข้าด้วยกัน เรียกว่า การนำเสนอข้อมูลแบบสื่อประสม (Multimedia) ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เหล่านั้นจึงจัดเป็นวัตถุดิบที่สำคัญสำหรับการสร้างงานนำเสนอข้อมูลให้น่าสนใจและเข้าใจได้ง่ายขึ้น
ความสามารถในการจัดการกับสไลด์ได้ง่าย หมายถึง ความสามารถในการกำหนดรูปแบบหลัก หรือรายละเอียดอื่นๆ ของสไลด์ไว้เพียงครั้งเดียว เช่น สีของพื้นหลังสไลด์ สีของข้อความ รูปแบบตัวอักษร เป็นต้น จากนั้น จึงนำรูปแบบหลักนี้ไปใช้กับทุกสไลด์ที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลนั้นให้กับหน้าหลักเพียงหน้าเดียว ถ้ามีการแก้ไขปรับแต่งในภายหลัง ก็สามารถทำได้ในหน้าหลักเพียงหน้าเดียวเช่นกัน โดยโปรแกรมจะแก้ไขให้เองอย่างอัตโนมัติในทุก ๆ หน้า การสร้างหน้าใหม่ การลบสไลด์บางหน้า หรือการสับเปลี่ยนลำดับการแสดงผล สามารถทำได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยไม่จำเป็นต้องสร้างไปเรียงไปทีละหน้าให้ถูกต้องตั้งแต่แรก
ความสามารถในการควบคุมการแสดงผลของข้อมูลได้ดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุม การเปลี่ยนหน้าสไลด์แต่ละหน้า หรือการแสดงข้อความแต่ละบรรทัดแตกต่างกัน ตามความเหมาะสม เช่น ให้จอภาพของสไลด์หน้าที่แสดงเสร็จแล้ว ค่อยๆ เลื่อนออกไปทางด้านใดด้านหนึ่ง แล้วค่อยให้สไลด์หน้าต่อไปมาปรากฏแทน หรือในการกำหนดการแสดงข้อความ อาจกำหนดให้ข้อความค่อยๆ เลื่อนลงมาจากข้างบน หรือจากข้อความที่เลือนลาง แล้วค่อยๆ ปรากฏชัดขึ้นเรื่อยๆ เป็นต้น ความสามารถนี้ช่วยให้การนำเสนอข้อมูลมีการเคลื่อนไหว จึงทำให้ไม่น่าเบื่อและน่าสนใจยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ ในการสร้างงานนำเสนอข้อมูลที่ผ่านมา บางโปรแกรมสามารถสร้างแฟ้มข้อมูลหนึ่งแฟ้มต่อสไลด์หนึ่งหน้า ดังนั้น การแสดงผลข้อมูลเพียงรูปแบบเดียวก็เพียงพอแล้ว แต่สำหรับโปรแกรมที่สามารถสร้างสไลด์ได้หลายหน้า โดยบันทึกไว้ในแฟ้มข้อมูลเพียงแฟ้มเดียว ก็จำเป็นจะต้องมีวิธีแสดงผลข้อมูลในหลายรูปแบบ การแสดงผลข้อมูลแต่ละรูปแบบนี้เรียกว่า มุมมองเพื่อให้ผู้ใช้สามารถทำงานกับสไลด์ได้สะดวกยิ่งขึ้น
มุมมองที่แสดงให้เห็นสไลด์ทุกๆ หน้าพร้อมกัน เพื่อประโยชน์ในการจัดลำดับของสไลด์ที่จะนำเสนอได้อย่างชัดเจน
มุมมองต่างๆ สำหรับการแสดงผลข้อมูล เช่น มุมมองแบบเรียงลำดับหน้าสไลด์ คือ จะแสดงให้เห็นสไลด์ทุกๆ หน้าพร้อมกัน และเห็นลำดับการจัดเรียงหน้าสไลด์ได้ทันที ดังนั้น ถ้าต้องการสับเปลี่ยนลำดับการแสดงผลข้อมูลใหม่ ก็สามารถทำได้ทันทีในขณะที่อยู่ในมุมมองนี้ โดยเลือกสไลด์หน้าที่ต้องการเปลี่ยนตำแหน่ง แล้วดึงไปวางในตำแหน่งตามต้องการ หรือมุมมองแบบที่สามารถเขียนคำอธิบายสไลด์กำกับไว้ใต้สไลด์แต่ละหน้า เพื่อใช้เป็นเอกสารสำหรับผู้พูด หรือมุมมองแบบแสดงผลเต็มหน้าจอสำหรับสไลด์ทีละหน้าตามลำดับก่อนหลังที่ได้เรียงไว้ มุมมองแบบนี้จะเป็นมุมมองที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลจริง ๆ ดังนั้น ผู้ใช้สามารถตรวจสอบการแสดงผลข้อมูลจริงได้จากมุมมองนี้
มุมมองต่างๆ สำหรับการแสดงผลข้อมูล เช่น มุมมองแบบเรียงลำดับหน้าสไลด์ คือ จะแสดงให้เห็นสไลด์ทุกๆ หน้าพร้อมกัน และเห็นลำดับการจัดเรียงหน้าสไลด์ได้ทันที ดังนั้น ถ้าต้องการสับเปลี่ยนลำดับการแสดงผลข้อมูลใหม่ ก็สามารถทำได้ทันทีในขณะที่อยู่ในมุมมองนี้ โดยเลือกสไลด์หน้าที่ต้องการเปลี่ยนตำแหน่ง แล้วดึงไปวางในตำแหน่งตามต้องการ หรือมุมมองแบบที่สามารถเขียนคำอธิบายสไลด์กำกับไว้ใต้สไลด์แต่ละหน้า เพื่อใช้เป็นเอกสารสำหรับผู้พูด หรือมุมมองแบบแสดงผลเต็มหน้าจอสำหรับสไลด์ทีละหน้าตามลำดับก่อนหลังที่ได้เรียงไว้ มุมมองแบบนี้จะเป็นมุมมองที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลจริง ๆ ดังนั้น ผู้ใช้สามารถตรวจสอบการแสดงผลข้อมูลจริงได้จากมุมมองนี้
(http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=25&chap=1&page=t25-1-infodetail04.html)
รูปแบบการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์
แนะนำโปรแกรมโปรแกรม Power Point เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูงในการนำเสนอข้อมูลในรูปของ Slide
โดยสามารถนำข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียงมาประกอบในการสร้าง Slide เพื่อให้เกิดความสวยงาม
ประโยชน์ของ Power Point
1. สามารถสร้างงานนำเสนอได้อีกอาชีพหนึ่ง
2. สามารถนำองค์ประกอบ Multimedia ต่าง ๆ มาใช้ได้
3. สามารถเตรียมเอกสารประกอบคำบรรยาย
4. สามารถแปลงเป็น Slide 35 mm
ความสามารถใหม่ของโปรแกรม
- Smart Tag : ปุ่มอัจฉริยะ
- Task Pane : หน้าต่างรวมคำสั่ง
- Office Clipboard : คัดลอกข้ามโปรแกรม
- Other : สั่งงานด้วยเสียง, อ่าน ลายมือ, กู้ข้อมูล
การวางความชัดเจนในสิ่งที่ต้องการสื่อสาร โดยศึกษากลุ่มผู้ฟังว่ามีลักษณะเช่นไร การเตรียมนำเสนอเป็นการถ่ายทอดความคิดของเราเป็นแนวทางทำให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับงานที่จะนำเสนอ
การลงรายละเอียดในหัวข้อต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นที่กลุ่มผู้ชมเป็นหลักว่าสไลด์ของเราต้องมีเนื้อหา หรือรูปแบบการนำเสนอแบบใดจึงเหมาะสม
หลังจากที่เราได้ใส่ข้อความที่ต้องการสื่อสารไปแล้ว ต่อไปเราจะต้องทำการปรับแต่งตัวอักษร สีที่ใช้กับสไลด์และรูปแบบขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่แสดงเพื่อให้สไลด์ดูสวยงาม และน่าติดตาม
เป็นการนำเสนอสิ่งต่าง ๆ ที่เราต้องการนำเสนอมาใส่ในสไลด์แต่ละแผ่น โดยเราอาจใช้เวลานานพอสมควรในการตระเตรียมข้อมูลให้ตรง และสนับสนุนประเด็นที่เราต้องการนำเสนอ
ถ้าใช้คอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสไลด์ก็อาจนำเทคนิคในการเปลี่ยนสไลด์มาใช้เพิ่มความน่าสนใจให้กับการนำเสนอข้อมูลได้ เช่น การเลื่อนแผ่นสไลด์แผ่นใหม่
ก่อนถึงเวลาที่เราต้องการนำเสนอ ควรซ้อมการพูดให้เข้ากับแผ่นสไลด์ที่เตรียม โดยอาจมีการจับเวลา เพื่อจะได้ทราบว่าการบรรยายใช้เวลาอย่างเหมาะสมหรือไม่
หลังจากที่ได้ซักซ้อม จนพร้อมนำเสนอสไลด์ที่ได้จัดทำไว้แล้ว สิ่งสุดท้ายที่สำคัญที่สุด คือ การพิมพ์เอกสารประกอบการบรรยาย การจัดทำเอกสารแจกให้ผู้เข้าฟังจะทำให้ผู้ฟังไม่ต้องเสียเวลาในการจดจ่อฟังสิ่งที่เราต้องการสื่อสาร
1. แถบชื่อโปรแกรม Tittle Bar เป็นแถบที่ใช้ในการบอกชื่อของโปรแกรม และบอกชื่อไฟล์งานที่กำลังใช้งานอยู่
2. แถบปุ่มควบคุม เป็นแถบที่ใช้ในการปิดโปรแกรม , ย่อขยายหน้าต่างของโปรแกรม , ย่อ ยุบหน้าต่างโปรแกรม
3. แถบเมนูคำสั่ง หรือ Menu Bar มีคำสั่งย่อยต่าง ๆ ในการใช้งานดังนี้
3 .1แฟ้ม มีชุดคำสั่งของคำสั่งย่อยของโปรแกรมต่อไปนี้ สร้าง, เปิด,ปิด / บันทึก ,บันทึกเป็น, บันทึกเป็นเว็บเพจ, ค้นหา/
บรรจุและส่งต่อ , แสดงตัวอย่างเว็บเพจ ,ตั้งค่าหน้ากระดาษ , แสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์ , พิมพ์ / ส่งไปยัง , จบการทำงาน
3.2 แก้ไข มีชุดคำสั่งย่อยของโปรแกรมดังนี้ ทำซ้ำ , เลิกทำซ้ำ , ตัด , คัดลอก / วาง , วางแบบพิเศษ,วางแบบเชื่อมโยงหลายมิติ / ล้าง , ล้างทั้งหมด , การทำซ้ำ , ลบภาพนิ่ง / ค้นหา , แทนที่วัตถุ
3.3 มุมมอง มีชุดคำสั่งย่อยของโปรแกรมดังนี้ ปกติ ,ตังเรียงลำดับภาพนิ่ง ,นำเสนอภาพนิ่ง , บันทึกย่อ / ต้นแบบ , สี ระดับสีเทา / บานหน้าต่างงาน , แถบเครื่องมือ , ทิศทางการแสดง / หัวกระดาษและท้ายกระดาษ , ย่อขยาย
3.4 รูปแบบ มีชุดคำสั่งย่อยของโปรแกรมดังนี้ แบบอักษร , สัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อยและตัวเลข , การจัดตำแหน่ง , ทิศทางข้อความ, ระยะห่างระหว่างบรรทัด, เปลี่ยนตัวพิพม์ / ออกแบบภาพนิ่ง , เค้าโครงภาพนิ่ง , พื้นหลัง
3.5 เครื่องมือ มีชุดคำสั่งย่อยของโปรแกรมดังนี้ การสะกด, ดูภาษา , อ้างอิง / เปรียบเทียบและผสานงานนำเสนอ , การร่วมมือกันแบบออนไลด์ , ตัวเตือนการประชุม, เครื่องมือบนเว็บ , แมโคร / ตัวเลือกแก้ไขอัตโนมัติ , กำหนดเอง , ตัวเลือก
3.6 นำเสนอภาพนิ่ง มีชุดคำสั่งย่อยของโปรแกรมดังนี้ ชมการนำเสนอ, ตั้งค่าการนำเสนอ, ออกอากาศแบบออนไลด์,
บันทึกคำบรรยาย / ปุ่มปฏิบัติการ , โครงร่างภาพเคลื่อนไหว , การเคลื่อนไหวที่กำหนดเอง , การเปลี่ยนภาพนิ่ง , ซ่อนภาพนิ่ง, การนำเสนอที่กำหนดเอง
3.7 หน้าต่าง
3.8 วิธีใช้
4. แถบเครื่องมือ เป็นคำสั่งที่ใช้ปฏิบัติงานที่มีลักษณะเป็น Icon คำสั่ง มีความสะดวกต่อการใช้งานสำหรับผู้ใช้โปรแกรมมากโดย ไม่จำเป็นต้องการใช้คำสั่งในแถบเมนูคำสั่ง
5. แถบไม้บรรทัด เป็นแถบเครื่องมือที่ใช้สำหรับการวัดขนาดของภาพ หรือตำแหน่งของภาพและข้อความในการสร้างงานนำเสนอด้วย
PowerPoint ซึ่งจะทำให้งานนำเสนอมีรูปแบบและขนาดที่เป็นมาตรฐานเดี่ยวกัน
6. แถบสถานะ เป็นแถบที่บอกสถานะการทำงานในปัจจบันว่ากำลังปฏิบัติงานอยู่ในแผ่นงานที่เท่าไร ของจำนวนแผ่นงงาน
นำเสนอทั้งหมด
7. พื้นที่การทำงานนำเสนอ ใช้ในการพิมพ์ข้อความ แทรกรูปภาพ , แผนภูมิ , กราฟ ในการนำเสนอด้วย PowerPoint
รูปแบบการแสดง Menu
ขั้นตอนการเตรียมงาน Presentation
1. การวางโครงร่าง
2. การลงรายละเอียดเนื้อหา
3. ปรับแต่งสไลด์ให้สวยงาม
4. การใส่ข้อความ รูปภาพ กราฟ ฯลฯ ในสไลด์
5. เพิ่มความน่าสนใจในขณะนำเสนอสไลด์
6. เตรียมการนำเสนอจริง
7. การเตรียมเอกสารประกอบการบรรยายแจกผู้ฟัง
การเปิดโปรแกรม
- start
- Microsoft Office
- Microsoft Office PowerPoint 2003
ส่วนประกอบหน้าจอ
ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Power Point มีดังต่อไปนี้การใช้งาน Menu Bar
1. ใช้เมาส์คลิกเลือกเมนู
2. Alt + ตัวอักษรที่มีขีดเส้นใต้ เช่น Alt + F เป็นการเปิดเมนู File
***หากเมนูเป็นภาษาไทย จะใช้ Alt + ตัวอักษรภาษาไทยที่ขีดเส้นใต้ เช่น Alt + ฟ เป็นการเปิดเมนูแฟ้ม (File)***สถานะของคำสั่งใน Menu Bar
1. คำสั่งที่มีสีเข้ม หมายถึง คำสั่งนั้นสามารถใช้งานได้
2. คำสั่งที่มีสีจาง หมายถึง คำสั่งนั้นไม่สามารถใช้งานได้
3. คำสั่งที่มี ... ต่อท้าย หมายถึง เมื่อเรียกใช้คำสั่งนั้น ๆ แล้วจะปรากฏ Dialog Box
4. คำสั่งที่มีสามเหลี่ยมสีดำต่อท้าย หมายถึง คำสั่งนั้นยังมีคำสั่งย่อยต่อไปอีก
1. แสดงคำสั่งบางส่วน : ทางด้านล่างสุดของเมนูคำสั่งจะมีเครื่องหมาย
ต่อท้ายด้านล่าง
2. แสดงคำสั่งทั้งหมด : สามารถเรียกใช้คำสั่งที่สามารถใช้ได้ทันที
การแสดง/ยกเลิก Tool Bar
1. Menu View > Tool Bar > เลือก Tool Bar ที่ต้องการ
2. คลิกขวาที่ Tool Bar ใด ๆ ก็ได้ > เลือก Tool Bar ที่ต้องการ
(http://www.geocities.ws/powerpointsbac/unit3.html)
No comments:
Post a Comment